ไบโอมบนบก
ไบโอมบนบก (terrrestrial biomes)
ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกำหนด ไบโอมบนบกที่อยู่ในโลกแบ่งได้หลายไบโอม แต่ไบโอมบนบกที่สำคัญที่กล่าวถึงมีทั้งหมด 7 ประเภท ได้แก่
1 ไบโอมป่าดิบชื้น
2 ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
3 ไบโอมป่าสน
4 ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่ม
5 ไบโอมสะวันนา
6 ไบโอมทะเลหราย
7 ไบโอมทุนดรา
เป็นบ้านเขียวชอุ่มร่มรื่นที่พบบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลก อากาศบริเวณนี้มีการเปลี่ยนไม่มากนัก ที่สำคัญคือมีฝนตกชุกถึงปีละ 2,000-5,000 มม. (2-5 เมตร ) ต่อปี ทำให้มีความชุ่มชื้น มีอินทรียสารอุดมสมบูรณ์มาก และมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากมายมหาศาล ป่าดงดิบมีหลายแบบ ที่พบในประเทศไทย มีทั้งป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าพรุ ฯลฯ
2. ป่าผลัดใบใบเขตอบอุ่น (deciduous forest)
ป่าผลัดใบได้รับน้ำฝนประมาณ 600-2,500 มม. ต่อปี พบทั้งในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของโลก เช่น ในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ประเทศจีน และในประเทศไทย พรรณไม้หลักเป็นไม้ต้นใบกว้างซึ่งทิ้งใบในช่วงฤดูแล้ง หรือช่วงฤดูหนาว และผลิใบอีกครั้งเมื่อมีฝนตก สัตว์ที่พบ เช่น กวางเอลก์ และสุนัขจิ้งจอก
3. ป่าสน หรือไทก้า ( taiga )
เป็นภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก Continental Subarctic climate เป็นเขตหนาวเย็นและแห้ง มีระยะเวลาที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนานกว่า 6 เดือน ในเดือนมกราคม อุณหภูมิ ประมาณ - 6 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อน มีอากาศ อบอุ่นขึ้น อุณหภูมิในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 16 องศาเซลเซียส มีฝนตกในฤดูร้อน ปริมาณ หยาดน้ำฟ้า 500-1,000 มิลลิเมตรต่อปี ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ มีฝนตกมากกว่าเขตทุนดรา และมีฤดูร้อนยาวนานกว่าเขตทุนดราเล็กน้อย มีสนเป็นพรรณไม้หลัก พบในแคนาดา จีน ฟินแลนด์ ฯลฯ สัตว์ที่พบในป่าสน เช่นกวางมูส และนกฮูกเทาใหญ่
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( grassland )
ทุ่งหญ้าได้รับน้ำฝนประมาณ 250-600 มม. ต่อปี ทุ่งหญ้ามักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว ทุ่งหญ้าในเขตอบอุ่นที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa) นอกจากทุ่งหญ้าแล้ว ยังมีไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia) สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตในอัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย
7. ทุนดรา (tundra) หรือ ภูมิอากาศแบบอาร์กติก Arctic climate หรือทุ่งหิมะแถบขั้วโลก
มีอาณาเขตตั้นแต่เส้นรุ้งที่ 60 เหนือขึ้นไปจนถึงขั้วโลก เป็นบริเวณหนาวเย็นที่มีหิมะปกคลุมเกือบตลอดปี แม้ในช่วงฤดูร้อน ซึ่งเป็นสั้นๆ ประมาณ 2-3 เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจัด อุณหภูมิ ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานกว่า 6 เดือน ฝนตกน้อย ปริมาณหยาดน้ำฟ้าประมาณ 500 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ ใต้พื้นดินก็ยังเป็นน้ำแข็ง เขตทุนดรา ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย ในช่วงฤดูหนาวอันยาวนานเป็นช่วงที่ขาดชีวิตชีวา สัตว์จะจำศีล(Hibermation) หรือหลบอยู่ใต้หิมะ และใต้ก้อนน้ำแข็ง พืชหยุดชะงักการเจริญเติบโต ในฤดูร้อนพื้นดินและพื้นน้ำจะสลับกันเป็นลวดลายสวยงาม ชุมชนแบบทุนดราเป็นชุมชนแบบง่ายๆ ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นจึงทำให้มีอัตราการระเหยต่ำ การสลายตัวของธาตุอาหารเกิดอย่างช้าๆ ทำให้ค่อนข้างขาดแคลนอาหาร แม้สภาพแวดล้อมจะไม่ใคร่เหมาะสม แต่สิ่งมีชีวิตก็สามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ พืชมีอายุการเจริญสั้นเพียงแค่ 60 วัน พืชชนิดเด่นได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
สัตว์ในเขตทุนดรามีไม่กี่ชนิด ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้าแมวหิมะ นอกจากนี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง
ใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกำหนด ไบโอมบนบกที่อยู่ในโลกแบ่งได้หลายไบโอม แต่ไบโอมบนบกที่สำคัญที่กล่าวถึงมีทั้งหมด 7 ประเภท ได้แก่
1 ไบโอมป่าดิบชื้น
2 ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
3 ไบโอมป่าสน
4 ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่ม
5 ไบโอมสะวันนา
6 ไบโอมทะเลหราย
7 ไบโอมทุนดรา
1. ป่าดิบชื้น ( evergreen forest) หรืออาจเรียกว่า ป่าฝนเขตร้อน (tropicalrainforest)
เป็นบ้านเขียวชอุ่มร่มรื่นที่พบบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลก อากาศบริเวณนี้มีการเปลี่ยนไม่มากนัก ที่สำคัญคือมีฝนตกชุกถึงปีละ 2,000-5,000 มม. (2-5 เมตร ) ต่อปี ทำให้มีความชุ่มชื้น มีอินทรียสารอุดมสมบูรณ์มาก และมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากมายมหาศาล ป่าดงดิบมีหลายแบบ ที่พบในประเทศไทย มีทั้งป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าพรุ ฯลฯ
2. ป่าผลัดใบใบเขตอบอุ่น (deciduous forest)
ป่าผลัดใบได้รับน้ำฝนประมาณ 600-2,500 มม. ต่อปี พบทั้งในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของโลก เช่น ในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ประเทศจีน และในประเทศไทย พรรณไม้หลักเป็นไม้ต้นใบกว้างซึ่งทิ้งใบในช่วงฤดูแล้ง หรือช่วงฤดูหนาว และผลิใบอีกครั้งเมื่อมีฝนตก สัตว์ที่พบ เช่น กวางเอลก์ และสุนัขจิ้งจอก
3. ป่าสน หรือไทก้า ( taiga )
เป็นภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก Continental Subarctic climate เป็นเขตหนาวเย็นและแห้ง มีระยะเวลาที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนานกว่า 6 เดือน ในเดือนมกราคม อุณหภูมิ ประมาณ - 6 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อน มีอากาศ อบอุ่นขึ้น อุณหภูมิในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 16 องศาเซลเซียส มีฝนตกในฤดูร้อน ปริมาณ หยาดน้ำฟ้า 500-1,000 มิลลิเมตรต่อปี ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ มีฝนตกมากกว่าเขตทุนดรา และมีฤดูร้อนยาวนานกว่าเขตทุนดราเล็กน้อย มีสนเป็นพรรณไม้หลัก พบในแคนาดา จีน ฟินแลนด์ ฯลฯ สัตว์ที่พบในป่าสน เช่นกวางมูส และนกฮูกเทาใหญ่
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( grassland )
ทุ่งหญ้าได้รับน้ำฝนประมาณ 250-600 มม. ต่อปี ทุ่งหญ้ามักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว ทุ่งหญ้าในเขตอบอุ่นที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa) นอกจากทุ่งหญ้าแล้ว ยังมีไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia) สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตในอัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย
5. ทุ่งหญ้าสะวันนา
มักจะพบกระจายอยู่ใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ของทวีปแอฟริกา หรืออเมริกาใต้ มีลักษณะเป็นป่าไม้
มักจะพบกระจายอยู่ใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ของทวีปแอฟริกา หรืออเมริกาใต้ มีลักษณะเป็นป่าไม้
จนถึงทุ่งหญ้า ที่มีต้นไม้กระจายอยู่ห่างๆ กันทั้งนี้เนื่องจากความชื้นในฤดูแล้งไม่เพียงพอสำหรับการปก
คลุมของต้นไม้ให้เต็มพื้นที่ ไม้บางชนิดเป็นพวกทนแล้ง (xerophyte) การที่มีเรือนยอดโปร่งทำให้ไม้พื้น
ล่างขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น โดยเฉพาะหญ้าชนิดต่างๆสัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตใน
อัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย
6. ทะเลทราย ( desert )
คือบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝน 250 มม. ต่อปี และบางช่วงอาจไม่มีฝนตกยาวนานถึง 8-10 ปี ทะเลทรายบางแห่งซึ่งมีอากาศร้อน เช่น ทะเลทรายซาฮาราในอัฟริกา ทะเลทรายโซโนรันในเม็กซิโก มีฤดูหนาวสั้นๆ ที่ไม่หนาวมากนัก แต่ทะเลทรายบางแห่ง เช่น ทะเลทรายโกบีในมองโกเลียอาจมีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานในฤดูหนาวพืชที่พบในทะเลทรายเป็นพวกไม้พุ่มทนแล้ง พืชอวบน้ำ และพืชปีเดียว ในทะเลทรายมีสัตว์เลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน7. ทุนดรา (tundra) หรือ ภูมิอากาศแบบอาร์กติก Arctic climate หรือทุ่งหิมะแถบขั้วโลก
มีอาณาเขตตั้นแต่เส้นรุ้งที่ 60 เหนือขึ้นไปจนถึงขั้วโลก เป็นบริเวณหนาวเย็นที่มีหิมะปกคลุมเกือบตลอดปี แม้ในช่วงฤดูร้อน ซึ่งเป็นสั้นๆ ประมาณ 2-3 เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจัด อุณหภูมิ ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานกว่า 6 เดือน ฝนตกน้อย ปริมาณหยาดน้ำฟ้าประมาณ 500 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ ใต้พื้นดินก็ยังเป็นน้ำแข็ง เขตทุนดรา ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย ในช่วงฤดูหนาวอันยาวนานเป็นช่วงที่ขาดชีวิตชีวา สัตว์จะจำศีล(Hibermation) หรือหลบอยู่ใต้หิมะ และใต้ก้อนน้ำแข็ง พืชหยุดชะงักการเจริญเติบโต ในฤดูร้อนพื้นดินและพื้นน้ำจะสลับกันเป็นลวดลายสวยงาม ชุมชนแบบทุนดราเป็นชุมชนแบบง่ายๆ ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นจึงทำให้มีอัตราการระเหยต่ำ การสลายตัวของธาตุอาหารเกิดอย่างช้าๆ ทำให้ค่อนข้างขาดแคลนอาหาร แม้สภาพแวดล้อมจะไม่ใคร่เหมาะสม แต่สิ่งมีชีวิตก็สามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ พืชมีอายุการเจริญสั้นเพียงแค่ 60 วัน พืชชนิดเด่นได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
สัตว์ในเขตทุนดรามีไม่กี่ชนิด ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้าแมวหิมะ นอกจากนี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น